ปืนแก๊ป

ระบบจัดการเนื้อหาเว็บ (Web Content management system) เป็นระบบการจัดการเนื้อหา (CMS) ชนิดหนึ่ง โดยเป็นระบบที่เขียนขึ้นด้วยภาษาโปรแกรม เพื่อใช้เป็นเว็บแอปพลิเคชัน (Web Application) ในการจัดเนื้อหาของเว็บไซต์ ให้ง่ายต่อการจัดการ การทำงานของระบบจัดการเนื้อหาเว็บไซต์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วย โปรแกรมสำหรับสร้างหน้าเว็บด้วยสคริปต์ที่ทำงานบนฝั่งเว็บเซิร์ฟเวอร์ และโปรแกรมที่ใช้จัดเก็บข้อมูลเช่น โปรแกรมฐานข้อมูลผู้คนมักจะสับสนว่า เว็บท่า หรือ พอร์ทัล (portal) คือระบบจัดการเนื้อหาของเว็บ แต่จริงๆแล้ว เว็บท่าเป็น CMS ประเภทที่รวมระบบจัดการเนื้อหาเว็บที่เน้นการทำเว็บทั่วไปเป็นหลัก โดยที่ผู้ใช้ระบบเว็บท่าสามารถปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยได้อย่างง่ายดาย แทนที่จะใช้โปรแกรมออกแบบหน้าตาเว็บอื่น ๆ เช่น ดรีมวีฟเวอร์ โกไลฟ์ หรือไมโครซอฟท์ ฟรอนท์เพจ ที่มีเนื้อหาแบบนิ่ง นอกจากนี้ ยังมีโมดูล หรือคอมโพเนนท์หลากหลายไว้เสริมความสามารถของเว็บท่าอีกด้วย บล็อก (blog) ย่อมาจาก เว็บบล็อก (weblog) เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้สมัครเป็นสมาชิก และได้พื้นที่บล็อกตามที่กำหนด จากนั้นสมาชิกจะสามารถปรับปรุงเนื้อหาในบล็อกของตนได้อย่างง่ายดาย กำลังเป็นที่นิยมของวัยรุ่นในขณะนี้สำหรับเขียนไดอารี่ส่วนตัว เป็นต้น

jumbo jili

ป็นโปรแกรมสำหรับบริหารจัดการ การขายสินค้าบนอินเทอร์เน็ต มีหน้าร้านสำหรับแสดงสินค้า ลูกค้าสามารถเลือกสินค้าที่ต้องการใส่ตะกร้า และจ่ายเงินได้ภายหลังผ่านทางบัตรเครดิตเป็นต้น ตวอย่างของโปรแกรมอี-คอมเมิซ ได้แก่ phpShop, osCommerce และ Zen cart (ที่พัฒนาจาก osCommerce) การเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) เป็นลักษณะการเรียนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภท ปัจจุบันเน้นที่สื่อคอมพิวเตอร์โดยใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อาจะใช้ร่วมกับระบบริหารจัดการเรียนการสอนบนเว็บ (Learning Management System: LMS) สามารถอัปโหลดเนื้อหาของรายวิชาขึ้นระบบได้ ให้ผู้ที่เป็นสมาชิกสามารถเข้ามาดูเนื้อหาได้ ตัวอย่างของระบบริหารจัดการเรียนการสอนบนเว็บที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่Moodleซึ่งเป็น OpenSource และระบบริหารจัดการเรียนการสอนบนเว็บอื่น ๆ เช่น ATutor Blackboard WebCT ซึ่งมีค่าใช้จ่าย เป็นโปรแกรมบริหารจัดการที่เน้นการแสดงภาพเป็นหลัก ผู้ใช้สามารถอัปโหลดภาพขึ้นระบบเพื่อแสดงผลได้ ตัวอย่างของโปรแกรมแกลลอรีภาพ ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ Coppermine เป็นโปรแกรมสำหรับการประสานงานร่วมกันผ่านระบบเครือข่าย มีฟังก์ชันการทำงานสนับสนุนการทำงานร่วมกันของทีมงาน เช่นปฏิทินนัดหมาย อีเมล กลุ่มผู้ทำงาน การบริหารโครงการ การแลกเปลี่ยนไฟล์เอกสาร เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว สามารถรองรับการทำงานในสำนักงานทั่วๆไปได้ถึงร้อยละ 80

สล็อต

ตัวอย่างของโปรแกรมกรุปแวร์ ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ dotProject eGroupware MoreGroupware phpCollab phpProjekt เป็นระบบบริหารจัดการเนื้อหาเว็บที่มีแนวความคิดใหม่ โดยเปิดกว้างให้ทั้งผู้ที่เป็นสมาชิกและไม่เป็นสมาชิกสามารถแก้ไขเนื้อหาได้แทบจะทุกส่วนของเว็บ ตัวอย่างของโปรแกรมวิกิ ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ มีเดียวิกิ Docuwiki กระดานข่าว เป็นสถานที่แปะข้อความกระทู้ ในผู้ที่เป็นสมาชิก หรือบุคคลทั่วไปสามารถแสดงความเห็นในเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องได้ เป็นที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เนื่องจากทำให้เกิดชุมชนของผู้ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน สามารถมาพูดคุยแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกันได้ ตัวอย่างของโปรแกรมกระดานข่าว ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ PhpBB FudForum Invision Power Board vBulletin เป็นโปรแกรมบริหารจัดงานเนื้อหาเว็บที่เปรียบเสมือนโมดูลย่อยๆ โมดูลเดียวของเว็บท่า เน้นที่การบำรุงรักษาง่าย สามารถลงระบบได้โดยไม่ต้องใช้ฐานข้อมูล แต่เก็บข้อมูลเป็นไฟล์อักขระธรรมดา

สล็อตออนไลน์

มีเดียวิกิ คือซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลในการทำเว็บไซต์ เป็นที่รู้จักดีในฐานะซอฟต์แวร์หลักสำหรับโครงการวิกิพีเดีย และโครงการในวิกิมีเดีย การทำงานของมีเดียวิกิโดยทำงานบนเซิร์ฟเวอร์เป็นหลัก โดยทำงานกับภาษาพีเอชพี และ MySQL โครงการวิกิพีเดียและโครงการอื่นในมูลนิธิวิกิมีเดีย ที่ปัจจุบันใช้งานมีเดียวิกิ ระยะ 3 ภายใต้ลิขสิทธิ์แบบ GFDL โดยซอฟต์แวร์ ถูกใช้ภายใต้ GPL มักนุส มันส์เคอ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การเคมี มหาวิทยาลัยโคโลญ ประเทศเยอรมนี เป็นผู้เริ่มออกแบบซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ ซึ่งทำงานโดยภาษาพีเอชพี และฐานข้อมูล MySQL ซึ่งต่อมาได้มีโปรแกรมเมอร์หลายคนได้ร่วมในโครงการนี้ โดยในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2545 โครงการระยะที่ 1 ชื่อ ยูสมอดวิกิ (UseModWiki) ได้เปลี่ยนมาเป็นโครงการระยะที่ 2 และในเดือนมิถุนายน ปีเดียวกัน ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น มีเดียวิกิ (โครงการระยะที่ 3) ชื่อในปัจจุบัน ในปัจจุบัน ไบรออน วิบเบอร์ เป็นแกนนำผู้พัฒนาซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ

jumboslot

ในวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 วิกิพีเดียได้ย้ายจากเซิร์ฟเวอร์เดิมไปสู่เซิร์ฟเวอร์ใหม่ (โครงการระยะ 3) ที่มีความสามารถสูงกว่าและเนื้อที่ที่มากกว่า ความสามารถหลักระหว่างโครงการระยะที่ 3 คล้ายกับโครงการในระยะที่ 2 โดยเพิ่มความสามารถดังต่อไปนี้เข้าไป ได้แก่ ระบบอัปโหลดรูป และการใช้ภาพในบทความ ระบบค้นหาข้อมูล โดยสามารถเก็บข้อมูลดัชนี ได้ในลักษณะทั้ง 2 และ 3 ตัวอักษร เพิ่มแถบข้างที่สามารถย้ายได้ สำหรับเว็บเบราว์เซอร์รุ่นใหม่ มีการจัดเก็บหมายเลขไอพี ของแต่ละการแก้ไข เพื่อให้สามารถติดตามการแก้ไขได้ เนื่องจากในระยะหลังมีผู้ใช้ที่ไม่ได้ลงทะเบียนเพิ่มมากขึ้น และหลายคนได้ช่วยเขียนในหลายบทความ เพิ่มความสามารถใช้สมการคณิตศาสตร์ เพิ่มความสามารถทำงานกับบอต เพิ่มระบบเก็บสถิติผู้ใช้แบบใหม่ ที่ใช้ทรัพยากรของเครื่องน้อยลง และเซิร์ฟเวอร์ของวิกิพีเดียกับเซิร์ฟเวอร์ของฐานข้อมูล สามารถทำงานแยกกัน ซอฟต์แวร์ในโครงการระยะที่ 3 นี้ มีชื่อเสียงโด่งดังและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกัน ก็มีการแก้ไขข้อบกพร่องและเสริมความเสถียรของระบบ

slot