ทรัพย์สินพนัน และเครื่องมือเล่นการพนัน

ทรัพย์สินตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติการพะนัน พุทธศักราช 2478 ที่กฎหมายบัญญัติให้สามารถริบได้นั้น สามารถแยกได้เป็น 2 ชนิด ดังนี้ทรัพย์สินพนันหรือสินพนัน คือ ทรัพย์สินที่เป็นวัตถุแห่งการแพ้ชนะกัน เช่น เงินหรือทรัพย์สิน ถ้าจับทรัพย์สินพนันได้ในวงพนันกฎหมายให้ศาลริบได้เสียทั้งสิ้น แต่ถ้าเป็นทรัพย์สินที่มิได้เอาออกพนันก็จะริบไม่ได้ เงินหรือของรางวัลที่ใช้เป็นสินพนันแม้ในขณะจับได้จะยังไม่เป็นสินพนันหรือรางวัลในการพนันก็ยังริบได้ เช่น เงินกองกลางที่ผู้เล่นเอาวางไว้หน้าเจ้ามือ หรือของรางวัลที่วางไว้สำหรับให้แก่ผู้จับสลากได้ ศาลริบได้ทั้งสิ้น ส่วนสิ่งของที่จะถือได้ว่าเป็นสินพนันต้องเป็นสิ่งของที่มีค่าพอในตัวของมันเอง
เครื่องมือที่ใช้ในการเล่นพนัน หมายถึง อุปกรณ์สำหรับใช้เล่นพนัน ซึ่งกฎหมายให้ริบตามประมวลกฎหมายอาญา หมายความว่าให้ศาลสามารถใช้ดุลพินิจในการพิจารณาได้ โดยพิจารณาว่าเป็นทรัพย์สินที่ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการเล่นพนันหรือไม่ หรือทรัพย์สินนั้นเป็นของผู้อื่นที่มิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการเล่นการพนันนั้นหรือไม่ ซึ่งหากศาลริบเครื่องมือที่ใช้ในการเล่นพนัน เจ้าของที่แท้จริงไม่รู้เห็นเป็นใจในการเล่นพนันนั้นมีสิทธิร้องขอคืนต่อศาลได้ แต่ถ้าเป็นสินพนันนั้นเจ้าของที่แท้จริงแม้จะไม่รู้เห็นเป็นใจด้วยก็จะร้องขอคืนต่อศาลมิได้

jumbo jili

สลากกินแบ่ง สลากกินรวบ และสวีป หรือการเล่นอย่างใดที่เสี่ยงโชคให้เงินหรือประโยชน์อย่างอื่นแก่ผู้เล่นคนหนึ่งคนใด ต้องส่งสลากให้เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาตประทับตราก่อน จึงจะนำออกจำหน่ายได้ ถ้ายังมิได้รับอนุญาตให้มีการเล่น ห้ามไม่ให้ประกาศโฆษณาหรือชักชวนโดยทางตรงหรือทางอ้อมให้บุคคลใดๆ เข้าร่วมในการเล่นนั้น ซึ่งหากไม่ได้รับอนุญาตกฎหมายให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือนายอำเภอที่จะยึดและทำลายเสียก็ได้และถ้าประกาศหรือเอกสารนั้นส่งทางไปรษณีย์ถึงผู้รับที่อยู่ในราชอาณาจักร เจ้าพนักงานไปรษณีย์จะยึดประกาศหรือเอกสารนั้นไว้ ก็ได้ แต่จะต้องแจ้งให้ผู้รับทราบก่อน ถ้าผู้รับมีข้อโต้แย้งว่า ประกาศหรือเอกสารนั้นไม่ได้เป็นการชักชวนผู้อื่นให้เข้าเล่นการพนัน ผู้รับจะนำคดีไปฟ้องศาลภายในกำหนด 1 เดือน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งความจากเจ้าพนักงานไปรษณีย์ก็ได้ ถ้าผู้รับไม่ได้นำคดีไปฟ้องศาล หรือเมื่อศาลสั่งยืนการยึดนั้น เจ้าพนักงานไปรษณีย์มีอำนาจทำลายประกาศหรือเอกสารที่ยึดไว้นั้นได้ แต่เจ้าพนักงานไปรษณีย์จะเปิดซองหรือห่อออกดูโดยอาศัยอำนาจตามที่กล่าวมานี้ไม่ได้ เว้นแต่จะมีเครื่องหมายภายนอกแสดงว่า ในซองหรือในห่อนั้นมีสิ่งที่จะต้องริบและทำลายตามพระราชบัญญัติการพะนัน
“จุดหมายของผู้ร่างนั้น ในสาระสำคัญก็คือ ร่างกฎหมายให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ ด้วยเหตุนี้ ผู้ร่างจึงพยายามอย่างยิ่งที่จะไม่ตกหลุมพรางของการคัดลอกบทบัญญัติของกฎหมายต่างประเทศแล้วนำมาดัดแปลงเอาอย่างเพียงผิวเผิน

สล็อต

ไม่ว่าบทกฎหมายต่างประเทศนั้น ๆ จะประเสริฐเลิศเลอเพียงใดก็ตาม สำหรับการร่างกฎหมายแต่ละลักษณะ ๆ นั้น ผู้ร่างจะเริ่มต้นด้วยการศึกษาเรื่องนั้น ๆ อย่างกว้าง ๆ ก่อนโดยดูจากตัวบทกฎหมายของสยามที่มีอยู่ (พระราชบัญญัติ หรือคำพิพากษา) และจากประมวลกฎหมายสำคัญ ๆ ของต่างประเทศ เช่น ในแง่ของความชัดเจนจะดูจากประมวลกฎหมายฝรั่งเศส หลักกฎหมายบางอย่างดูจากกฎหมายอังกฤษบางฉบับซึ่งนักกฎหมายสยามส่วนมากรู้จักเป็นอย่างดี ในแง่ของบทบัญญัติที่สะดวกในการใช้และทันสมัยจะดูจากประมวลกฎหมายของสวิสและญี่ปุ่น ในแง่ของความกระชับรัดกุมด้วยเทคนิคทางกฎหมายก็จะดูจากประมวลกฎหมายเยอรมัน นอกจากนั้นก็ยังได้นำเอาข้อเปลี่ยนแปลงแก้ไขที่ได้มีขึ้นในกฎหมายของอิตาลี เบลเยียม ฮอลันดา และบางรัฐ ในอเมริกามาเป็นข้อพิจารณาด้วย ในกรณีที่มีทางที่จะบัญญัติเรื่องใดเรื่องหนึ่งไปได้หลาย ๆ แนวทาง คณะกรรมการจะเลือกแนวทางที่มีผลในทางปฏิบัติมากที่สุดสอดคล้องกับความจำเป็นสมัยใหม่ที่สุด ด้วยเหตุนี้ คณะกรรมการจึงพยายามอย่างยิ่งที่จะใช้ประโยชน์จากประสบการณ์และภูมิปัญญาของประเทศที่ได้มีประมวลกฎหมายมาก่อน มากกว่าที่จะลอกเลียนตาม ๆ กันไปดังเป็นทาสทางปัญญา…”

สล็อตออนไลน์

แม้จะมีการวางแนวทางไว้เช่นนั้น ทว่า การดำเนินงานก็มิใช่ง่าย เนื่องจากในการหยิบยกบทกฎหมายของไทยแต่เดิมขึ้นมาพิจารณาประกอบนั้น ตัวบทกฎหมายทางวิธีพิจารณาความและทางอาญามีมากกว่าทางแพ่งและพาณิชย์ ประกอบกับใน พ.ศ. 2462 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ได้ทรงลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการ และเจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์ลบ สุทัศน์) เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ได้รับตำแหน่งแทน อนึ่ง ยังมีการจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมาอีกหลายคณะจนเฝือ เช่น คณะกรรมการช่วยยกร่าง คณะกรรมการตรวจคำแปลให้ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและการใช้ภาษา เป็นผลให้งานร่างกฎหมายเป็นไปอย่างติด ๆ ขัด ๆ และการติดต่อประสานงานกันระหว่างคณะกรรมการทั้งหลายเป็นไปอย่างล่าช้า มีความคืบหน้าน้อยมาก เมื่อเห็นว่าการจัดทำประมวลกฎหมายในประเทศสยามไม่คืบหน้า ใน พ.ศ. 2465 รัฐบาลฝรั่งเศสจึงเรียกร้องให้ไทยเร่งปรับปรุงระบบกฎหมายภายในประเทศอย่างไม่ชักช้าด้วยการจัดตั้งกรมร่างกฎหมายขึ้นทำหน้าที่เฉพาะโดยกำหนดให้เป็นเงื่อนไขที่ไทยจะต้องปฏิบัติตามเพื่อขอเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ในปีถัดมา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้ยกฐานะคณะกรรมการร่างกฎหมายขึ้นเป็นกรมร่างกฎหมาย สังกัดกระทรวงยุติธรรม มีอำนาจหน้าที่ร่างกฎหมายแต่โดยลำพัง และให้มีคณะกรรมการร่างกฎหมายชุดใหม่ ประกอบการดำเนินงานโดยเอกัตภาพของกรมร่างกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การตรวจชำระร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 และบรรพ 2 เสร็จสิ้นลงใน พ.ศ. 2466 ทว่า ร่างทั้งสองกลับมิใช่ร่างที่สมบูรณ์แบบ เพราะเดิมนั้นจัดทำเป็นภาษาอังกฤษก่อนจะแปลเป็นภาษาไทย แต่ก็แปลมาตรงตัวเลยทีเดียว กรรมการร่างกฎหมายฝ่ายที่เป็นชาวสยามอ่านแล้วไม่เข้าใจ คณะกรรมการร่างกฎหมายจึงลงมติว่าควรจัดพิมพ์และแจกจ่ายร่างฉบับดังกล่าวให้บรรดาผู้พิพากษาสุภาตุลาการทนายความและนักกฎหมายทั้งหลายได้อ่านเสียก่อน เพื่อหยั่งฟังเสียงดูความเห็นของพวกเขา

jumboslot

ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระบรมราชโองการให้ประกาศประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 หลักทั่วไป และบรรพ 2 หนี้ ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 แต่ให้มีผลใช้บังคับในวันที่ 1 มกราคม ปีถัดไป ปรากฏว่าประชาชนชาวไทยโดยเฉพาะหมู่ผู้พิพากษาและทนายความวิพากษ์วิจารณ์ว่า “อ่านแล้วไม่เข้าใจ ไม่รู้เรื่อง” ใน พ.ศ. 2523 พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) หนึ่งในกรรมการร่างกฎหมาย ในวัย 90 ปี เปิดเผยถึงสาเหตุที่ทำให้การประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แค่บรรพแรก ๆ กินเวลาถึง 15 ปี ซ้ำยังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ภายหลังอีก ว่า “…ตอนที่ทำโค๊ดแพ่ง ฝรั่งเขาขอเป็นผู้ร่างให้…เขาเสนอแบบ 3 บรรพอย่างโค๊ดฝรั่งเศส ร่างกันอยู่เป็นนานก็ยังไม่แล้วสักที จนกระทั่งผมกลับจากอังกฤษ ก็ยังไม่แล้ว…ผมได้อ่านร่างกฎหมายแล้วรู้สึกว่าไม่เข้าใจ เขียนกฎหมายไม่กินเกลียวกัน…เวลานั้นในหลวงทรงแต่งตั้งกรรมการที่เป็นเจ้านายมาเป็นกรรมการตรวจศัพท์ภาษา กรรมการท่านอ่านก็ไม่เข้าใจ แต่ไม่ได้ว่าอะไร ก็ในสมัยนั้นเรายังกลัวฝรั่งเศสอยู่เพราะมีอำนาจมาก เมื่ออ่านไม่เข้าใจ ในหลวงท่านก็ถามผมว่าจะเอาอย่างไร ที่สุดผมจึงทูลในหลวงว่า ชุดนี้เห็นจะไม่ได้การ เห็นสมควรให้มีการเปลี่ยนกรรมการร่างกฎหมายใหม่ ซึ่งอันที่จริงแล้ว คนที่มาเขียนกฎหมายให้เรานั้นมือยังไม่ถึงขั้น เวลาเขียนไปมันเลยไม่กินเกลียวกัน ในที่สุด กรรมการร่างกฎหมายต้องออกเกือบหมด เพราะเหตุที่ร่างแล้วยุ่งกันไปหมด…” ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ประกาศในรัฐกิจจานุเบกษาเยอรมัน ลงวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1896 (พ.ศ. 2439) และแล้ว ใน พ.ศ. 2466 นั้นเอง ก็มีการจัดตั้งคณะกรรมการร่างกฎหมายขึ้นใหม่อีกครั้งเป็นครั้งที่ 4 โดยชุดนี้ประกอบด้วย มหาอำมาตย์โท พระยานรเนติบัญชากิจ (ลัด เศรษฐบุตร) เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) และเรอเน กียง (René Guyon) คณะกรรมการได้ประชุมปรึกษากันเพื่อหาวิธีการให้งานร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ดำเนินไปโดยตลอดรอดฝั่ง ซึ่งครั้งนั้น พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) เสนอว่า จากเดิมที่ใช้ประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศสซึ่งมี 3 บรรพ เป็นแม่แบบ ควรเปลี่ยนมาใช้ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมันเป็นแม่แบบแทน ด้วยการลอกประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่นที่ยกร่างโดยอาศัยประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมันเป็นแม่แบบก่อนแล้ว ประกอบกับการใช้ประมวลกฎหมายแพ่งสวิสเป็นแม่แบบอีกฉบับหนึ่ง แต่เพื่อไม่ให้เสียไมตรีกับทางฝรั่งเศส จึงนำเอาบทบัญญัติบางช่วงบางตอนจากประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศสและจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับเดิมที่ประกาศใน พ.ศ. 2466 มาประกอบด้วย ที่สุดก็ได้ร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพแรก ๆ ที่สมบูรณ์ใน พ.ศ. 2468

slot